เหตุการณ์ยิงกราดที่โคราช – เคสศึกษาของกระบวนการ microtargeting บนโลกออนไลน์

เหตุการณ์ยิงกราดที่โคราชเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมาสร้างความสะเทือนใจให้กับประเทศไทยและทั่วโลกเป็นอย่างมาก  ในฐานะที่ผู้เขียนเกิดและเติบโตที่โคราช จึงเป็นเรื่องยากที่จะเชื่อว่าเหตุการณ์ร้ายแรงเช่นนี้จะเกิดขึ้นใจจังหวัดที่เรียบง่ายและเงียบสงบ เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต รวมคนร้ายทั้งหมด 30 ราย และมีผู้บาดเจ็บอีกเป็นจำนวนมาก ผู้เขียนคิดว่า เราคงใช้เวลาในการเยียวยารักษาบาดแผลทั้งทางกายและทางใจของคนในชุมชนและทั่วประเทศไทย รวมถึงยังต้องมีการสรุปบทเรียน และวิเคราะห์สาเหตุการณ์การสังหารหมู่ เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นอีกในอนาคต ผู้ประสบภัยซึ่งติดอยู่ภายในห้างสรรพสินค้าเริ่มแชร์เรื่องราวของพวกเขาบนโลกออนไลน์หลังจากเหตุการณ์สงบลง โดยเล่าว่าระหว่างที่ติดอยู่ในห้าง พวกเขาพยายามหาข้อมูลบนโซเซี่ยลมีเดียเกี่ยวกับเหตุร้าย แต่กลับรู้สึกสับสนและไม่แน่ใจว่าข่าวสารที่ได้รับมีความน่าเชื่อถือมากน้อยแค่ไหน ห้างเทอร์มินอล 21 โคราช สถานที่เกิดเหตุ สองวันถัดมา กองปราบได้ออกมาให้คำแนะนำประชาชนเรื่องการปฏิบัติตนเมื่อเผชิญกับเหตุการณ์วิกฤต…

read more

Which political parties in Europe spent the most on online political advertising in 2019?

2019 has been a rollercoaster year in online political advertising. Hot debates about its ethical and legal dimensions have made the headlines. Major digital advertising platforms have felt public and regulatory pressure, resulting in ambiguous responses such as Twitter’s blanket ban on paid advertising related to politics but very little…

read more

UK General Election: Review of Google and Facebook’s political ad transparency reports

How have Google and Facebook responded to the demands for increased transparency in political advertising, especially in light of the UK General Election? Both internet giants have created online dashboards with live statistics about the political ad campaigns and the parties (or campaigners) managing them. While they are moving in the…

read more